วันอังคารที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2552

วิชา ง40202 การนำเสนอด้วยสื่อประสม

ให้นักเรียนชั้น ม.6/3 และ ม.6/4 ภาคเรียนที่ 2/2552

ศึกษาการสร้างวิดีโอ จากเว็ป กบนอกกะลา"จูเนียร์"

http://www.tvburabha.com/

ให้ส่งรายชื่อสมาชิกกลุ่มละ 8-9 คน และเรื่องย่อ

แนบไฟล์มาทาง E-mail j_boonsuk@hotmail.com

ภายในวันศุกร์ที่ 30 ตุลาคม 2552

และผลิตชิ้นงานส่งภายในวันศุกร์ ที่ 27 พ.ย. 52

สื่อการตัดต่อวิดีโอ http://61.7.221.103

หมายเหตุ ไม่ส่งเสริมให้นักเรียนขาดเรียนเพื่อไปทำงานในรายวิชานี้

12 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ27 ตุลาคม, 2552

    รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
    เรื่อง
    ทะเลบางขุนเทียน

    1. นายทศพล จันทร์ภู่ เลขที่ 2 ก
    2. นายกิตติณัฏฐ์ จันทร์สุเทพ เลขที่ 7 ก
    3. นางสาวชนิดาภรณ์ ห้องกระจก เลขที่ 12 ก
    4. นางสาวณัฐธิดา ไชยา เลขที่ 14 ก
    5. นางสาวอวิกา รอดเสมอ เลขที่ 21 ก
    6. นางสาวธันยพร บำรุง เลขที่ 10 ข
    7. นางสาวนพวรรณ จันทะวัน เลขที่ 12 ข
    8. นางสาวเนตรทราย เทียมสัมฤทธิ์ เลขที่ 13 ข
    3. นาวสาวมัฑนา ประชีพฉาย เลขที่ 17 ข
    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 / 4

    ด้านล่างคือเนื้อหานะครับ
    http://203.155.220.239/subsite/index.php?strOrgID=001041&strSection=aboutus&intContentID=378&intListID=233

    ตอบลบ
  2. ไม่ระบุชื่อ27 ตุลาคม, 2552

    รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม

    1.นางสาวธีราภรณ์ พาณิชย์นววิธ เลขที่ 11ข หัวหน้ากลุ่ม
    เบอร์โทรศัพท์ 085-9611739
    E-mail: Dragonfinal_Bewithing@hotmail.com
    2.นายธนพล มะลิลา เลขที่ 3ก
    เบอร์โทรศัพท์ 084-2095339
    3.นายกิตติภัทร วงษ์นิ่ม เลขที่ 1ข
    เบอร์โทรศัพท์ 084-8801395
    E-mail: Kittipat_wongnim@hotmail.com
    4.นายธวัชชัย คตหอย เลขที่ 3
    เบอร์โทรศัพท์ 083-7808797
    5.นายนาฏวศิน สิงห์ป้อม เลขที่ 5ข
    เบอร์โทรศัพท์ 085-4215570
    E-mail: dekklongbua@hotmail.com
    6.นางสาวเจนจิรา กิจเกตุ เลขที่ 9ก
    เบอร์โทรศัพท์ 085-9185075
    E-mail: classic_scent@hotmail.com
    7.นางสาวสวาติวลัย พวงลำเจียก เลขที่ 17ก
    เบอร์โทรศัพท์ 080-9789313
    E-mail: hnuer_sawat@hotmail.com
    8.นางสาวสุชินา มีบุญพอ เลขที่ 19ก
    เบอร์โทรศัพท์ 080-9789313
    E-mail: Sushi_Mook@hotmail.com

    เรื่อง กระดาษ!!ชิ้นงานจากธรรมชาติ

    ตอบลบ
  3. ไม่ระบุชื่อ27 ตุลาคม, 2552

    เรื่อง กระดาษ!!ชิ้นงานจากธรรมชาติ

    เรื่องย่อ
    ปัจจุบันกระดาษมีความสำคัญทางเศรษฐกิจพอๆ กับน้ำมันและเหล็กกล้า ในแต่ละปีโลกผลิตกระดาษได้ 300 ล้านตัน ซึ่งนับว่าหนักกว่าน้ำหนักของฟิล์มภาพยนตร์ที่โลกผลิตถึง 3 เท่า และกระดาษยังเป็นผลิตภัณฑ์ที่จำเป็นต่อมนุษย์ทุกช่วงวัย เราจึงจะตามรอยของการผลิตกระดาษว่ามีการสร้างสรรค์มาจากอะไร การใช้กระดาษนั้นก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนอย่างไรมีการสูญเสียทรัพยากรเท่าไหร่ต่อกระดาษ 1 แผ่น????

    ตอบลบ
  4. ไม่ระบุชื่อ27 ตุลาคม, 2552

    รายชื่อสมาชิก
    1.นายปฎิพัทธ์ มณีรัตน์ เลขที่4ก.
    2.นาย.วิศิษฐศักดิ์ กันทริกา เลขที่7ข.
    3.นางสาวชุดาพร นพเก้า เลขที่13ก.
    4.นางสาวปพิชญา ตวงรัตนกุล เลขที่15ก.
    5.นางสาวอุษณีย์ เจิมถาวร เลขที22ก.
    6.นางสาวพัทธนันท์ วงศ์วัฒนะ เลขที่15ข.
    7.นางสาวพัลธมาส เชตุพันธุ์ เลขที่16.
    8.นางสาววรรณศิริ จงสถิตมั่น เลขที่20ข.
    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/4

    ทำเกี่ยวกับ ดิน น้ำ ลม ไฟ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
    เรื่องดิน – เราจะอนุรักษ์ทรัพยากรดิน โดยการปลูกต้นไม้ เพราะถ้ามีต้นไม้ก็จะช่วยลดการพังทลายของหน้าดิน
    เรื่องน้ำ – เราจะอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ โดยการไปเก็บขยะหรือผักตบชวาที่ถ้ามีมากเกินไปจะส่งผลเสียต่อสัตว์น้ำ ตามคูคลอง ตามแม่น้ำต่างๆ
    เรื่องลม - เราจะช่วยลดอากาศเสียโดยการช่วยกันรณรงค์เรื่องการลดสูบบุหรี่ คือ ทำแผ่นป้ายรณรงค์ไปติดตามสถานที่ต่างๆ เช่น ป้ายรถเมล์ ในวัด สถานีรถไฟ และ เดินรณรงค์เรื่องการลดการสูบบุหรี่ด้วย
    เรื่องไฟ – ทำเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟ้า โดยการที่ เราจะทำการไปเปลี่ยนหลอดไฟตามบ้านเรือนต่างๆ ที่ยังใช้หลอดไฟที่กินไฟ มาเป็นหลอดไฟแบบประหยัด(ฟลูออเรสเซนต์) เพื่อช่วยประหยัดไฟและลดโลกร้อน

    *** ยังไม่ได้กำหนดสถานที่ รอการสำรวจก่อน

    ตอบลบ
  5. ไม่ระบุชื่อ27 ตุลาคม, 2552

    รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
    1. นายอภิชาติ พานิชชอบ เลขที่ 8 ก.
    2. นางสาวเจนจิรา เครือทิวา เลขที่ 10 ก.
    3. นางสาวคัทลิญา เสนารายณ์ เลขที่ 11 ก.
    4. นางสาวปัฐมพร สมสกุล เลขที่ 16 ก.
    5. นางสาวอรณิชา หงษ์ทอง เลขที่ 20 ก.
    6. นายสรวิศ มนอัตระผดุง เลขที่ 8 ข.
    7. นางสาวชนัฎดา บุณยประสิทธิ์ เลขที่ 9 ข.
    8. นางสาวมินตรา เหนี่ยงจิตต์ เลขที่ 19 ข.
    9. นางสาววราภรณ์ สังข์วงษ์ เลขที่ 21 ข.

    ชื่อเรื่อง

    น้ำผึ้งแท้จากดอกทานตะวัน
    ฟาร์มเลี้ยงผึ้ง ซอย 24 สายตรี ม.9 ตำบลพัฒนานิคม อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี 15140 เป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงผึ้งพันธุ์ในประเทศไทย เป็นแหล่งจำหน่ายผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากผึ้ง เช่น น้ำผึ้งแท้จากดอกทานตะวัน , น้ำผึ้งนานาพันธุ์ , น้ำผึ้งรวงธรรมชาติ , แยมน้ำผึ้งดอกทานตะวัน , นมผึ้ง , เกสรผึ้งสด , เกสรผึ้งแห้ง , เทียนไขผึ้ง , ขี้ผึ้งแท้ และกาวผึ้ง

    น้ำผึ้ง เป็นของเหลวมีกลิ่นหอม รสหวานแหลม ลักษณะเข้มข้นเหนียวหนืด ผึ้งไปเก็บรวบรวมจากน้ำหวานดอกไม้ หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นไม้ ทุกขั้นตอนได้ผ่านขบวนการผลิตของผึ้งงาน เพื่อเก็บสะสมไว้เป็นอาหารของประชากรในรัง รสชาติและสีของน้ำผึ้งมีลักษณะแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของดอกไม้และเกลือแร่น้ำผึ้งที่ได้จากดอกไม้บางชนิด เมื่อถึงระยะเวลาหนึ่ง น้ำตาลกลูโคสอาจจะรวมตัวตกผลึกได้สารแขวนลอยในน้ำผึ้งส่วนใหญ่จะเป็นละอองเกสรดอกไม้ ผู้เลี้ยงผึ้งจะเก็บน้ำผึ้งในลักษณะที่หลอดรวงผึ้งปิดในเกณฑ์มาตรฐานสามในสี่ส่วนของรวงน้ำผึ้ง โดยนำมาใช้แรงเหวี่ยงในถังสลัดให้น้ำผึ้งกระเด็นออกมาแล้วนำไปกรองและหมัก ให้สิ่งเจือปนลอยขึ้นข้างบน น้ำผึ้งที่ได้จากใต้พื้นผิวจึงสะอาดบริสุทธิ์ และนับเป็นอาหารที่มี
    คุณค่า

    การใช้ประโยชน์จากน้ำผึ้ง

    น้ำผึ้ง จัดเป็นผลิตภัณฑ์จากผึ้งที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย จัดเป็นอาหารอันทรงคุณค่า เหมาะสำหรับทุกเพศ ทุกวัย น้ำผึ้งที่ดีจะมีลักษณะเป็นของเหลว มีความข้นหนืดพอสมควร มีความชื้นประมาณ 17.2 % องค์ประกอบหลักที่พบมากที่สุด คือ น้ำตาลมีประมาณ 80% น้ำตาลที่พบมากในน้ำผึ้ง คือ น้ำตาลฟลุดโตส 38% กลูโคส 31% และยังพบน้ำตาลชนิดอื่น ๆ อีกเล็กน้อย เช่น น้ำตาลซูโครส น้ำตาลมอลโตส นอกจากจะพบน้ำตาลเป็นองค์ประกอบหลักแล้ว องค์ประกอบอื่น ๆ อีกเล็กน้อย เช่น กรดอินทรีย์ เอนไซม์ และเกลือแร่ ซึ่งพบในปริมาณเล็กน้อยเช่นกัน

    คุณประโยชน์ของน้ำผึ้งที่นำมาใช้มีหลายประการ เช่น ทำเป็นเครื่องดื่มน้ำผึ้งผสมมะนาว ใช้เป็นอาหารเลี้ยงเด็กอ่อน ใช้รักษาโรคบางชนิด เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคริดสีดวงทวาร ใช้รักษาแผลติดเชื้อ นอกจากคุณประโยชน์ที่ได้กล่าวข้างต้นแล้ว ยังใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ไวน์ นอกจากนี้ยังมีการนำน้ำผึ้งมาใช้ในการทำให้น้ำผลไม้บางชนิดใสได้ ซึ่งในต่างประเทศ ได้มีการทดลองโดยการนำน้ำผึ้งมาทดลองใส่น้ำผลไม้บางชนิด ที่ขุ่นพบว่าจะทำให้น้ำผลไม้นั้นใสได้ ซึ่งพบว่าองค์ประกอบหลักที่มีคุณสมบัติในการทำน้ำผลไม้ให้ใสได้คือ โปรตีนจากน้ำผึ้ง แม้ว่าในน้ำผึ้งจะมีโปรตีนเป็นองค์ประกอบในปริมาณน้อย คือ 0.2% แต่มีความสามารถในการรวมตัวกับอนุภาคที่แขวนลอยในน้ำผลไม้ได้ดี เกิดเป็นตะกอบที่สามารถแยกออกมาได้จึงทำให้น้ำผลไม้ใสขึ้น น้ำผลไม้ที่ได้จะไม่สูญเสียกลิ่น รสชาติ และสามารถนำตะกอบที่เกิดขึ้นกลับมาใช้ได้อีก จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจในการนำน้ำผึ้งมาใช้ประโยชน์ในด้านนี้ ซึ่งอาจจะช่วยให้การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ประเภทน้ำผลไม้มีคุณภาพดีขึ้นกว่าเดิมได้

    ติดต่อ คุณนันทนา ศรีพันธุ์ , คุณสอาด ศรีพันธุ์ (036) 639292 , 09-8041307

    ตอบลบ
  6. 1. กลุ่มที่ยังไม่ได้ส่งให้มาด่วน

    1. กลุ่ม นายปฎิพัทธ์ มณีรัตน์ ให้กำหนดเนื้อเรื่องให้แคบลง

    เฉพาะเจาะจง เหมาะสมกับเวลา

    ตอบลบ
  7. ไม่ระบุชื่อ01 พฤศจิกายน, 2552

    รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
    1.น.ส.กัลย์สุดา จุลประเสริฐ เลขที่ 9ก.
    2.น.ส.กานต์ธิดา ปิ่นมณี เลขที่ 10ก.
    3.น.ส.วรารักษ์ เที่ยงทิพย์ เลขที่ 20ก.
    4.นายพิชยา วงษาสุข เลขที่ 5ข.
    5.นายพีรภัทร แสงสว่าง เลขที่ 6ข.
    6.น.ส.สิริภา แม้นพรม เลขที่ 16ข.
    ชั้น ม.6/3
    หัวข้อเรื่อง การทำอิฐมอญ อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี
    เนื้อหาที่ทำค่ะ
    www.pongjadesada.com/article/id4.aspx

    ตอบลบ
  8. ไม่ระบุชื่อ01 พฤศจิกายน, 2552

    สมาชิกกลุ่ม
    1.นาย นฤบดี ลาภมี เลขที่3ก
    2.นาย ยืนยงค์ ครุฑกะ เลขที่5ก
    3.นาย วสวัตติ์ ทองดี เลขที่7ก
    4.นาย สิงหา ภู่ระยับ เลขที่1ข
    5.นาย เจียรยุทธ เจือทอง เลขที่3ข
    6.นาย นวพิชญ์ ก่อแก้ว เลขที่4ข

    ชื่อเรื่อง ตามรอยเพชรเขาพระงาม

    เพชรเขาพระงามเป็นอัญมณี พบที่ ต.เขาพระงาม จ.ลพบุรี เมื่อนำมาเจียระไนแล้วจะมีความวาวคล้ายเพชร จึงมีชื่อเรียกว่า เพชรเขาพระงาม ซึ่งในความเป็นจริงแล้วเพชรเขาพระงามนี้มิใช่เพชร (Diamond) แต่เป็นแร่ที่ชาวบ้านเรียกกันว่า หินเขี้ยวหนุมานและ เรียกว่า ควอร์ตซ์ (Quartz)
    ควอร์ตซ์ เป็นแร่ที่เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของหินอัคนีชนิดที่มีซีลิกอนมากๆ เช่น หินแกรนิต ไรโอไลต์ และเปกมาไทด์ เมื่อหินอัคนีผุพังจะสะสมตัวกันเป็นหินทรายและหินควอร์ตไซต์
    ควอร์ตซ์เป็นสารประกอบระหว่างซิลิกอนและออกซิเจน มีสูตรทางเคมีเป็น SiO๒ โดยมีซิลิกอน ๔๖.๗% และออกซิเจน ๕๓.๓ % ที่ยึดเกาะกันเป็นผลึกระบบเฮกซะโกนาล แต่ก็มีบางชนิดที่เป็นผนึกละเอียดเล็กมากจนมองเด้วยตาเปล่าไม่เห็น มีเนื้อสมานกันแน่น ไม่หลอมละลายง่าย ละลายได้ในกรดเกลือ มีความวาวคล้ายแก้ว ความแข็งเท่า ๗ ตามสเกลมาตรฐานความแข็งของโทห์ สำหรับเพชร มีความแข็งเท่ากับ ๑๐
    ควอร์ตซ์ที่พบในจังหวัดลพบุรีมีหลายสี เช่น สีขาว สีชมพู สีเขียว สีม่วง สีเหลือง จึงนิยมนำไปเจียระไน เพราะให้ความวาวคล้ยเพชร และมีหลายสี จึงทำให้ควอร์ตซ์ หรือที่ชาว ลพบุรีเรียกว่าเพชรเขาพระงามนั้นมีชื่อเสียง และเป็นของดีอย่างหนึ่งของจังหวัดลพบุรี


    ประโยชน์

    นอกจากการนำควอร์ตซ์มาทำเป็นเครื่องประดับแล้วยังสามารถนำไปใช้ประโยชน์ด้านอื่นได้อีกด้วย เช่น ควอร์ตซ์ใสรูปของ ทรายใช้ผสมทำคอนกรีต ทำครก เป็นฟลักซ์ และวัสดุสำหรับขัดสีในงานอุตสาหกรรมแก้วและอิฐ ทำอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ ทำเครื่องเคลือบกระดาษทราย สบู่ ทำเลนซ์ และปริซึม เป็นต้น

    ตอบลบ
  9. สมาชิกในกลุ่ม ม.6/3
    1.นายจักราวุธ ศุขเขษม เลขที่ 2ข (หัวหน้ากลุ่ม)
    2.น.ส.เกศินี บัวเผื่อน เลขที่ 7ข
    3.น.ส.จิตราภรณ์ สุวรรณรังษี เลขที่ 8ข
    4.น.ส.ปาริฉัตร ทัพพระจันทร์ เลขที่ 11ข
    5.น.ส.สุธิดา บูรณพงษ์ เลขที่ 17ข
    6.น.ส.สุพรรษา ไตรโสม เลขที่ 18ข
    7.น.ส.อาริษา วงษ์ใจ เลขที่ 20ข



    ชื่อเรื่อง กระแสน้ำกระแสชีวิต

    ทำเรื่องเกี่ยวกับเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ พวกทรัพยากรทางน้ำ การชลประทาน การประมง วิถีชีวิตของผู้คนที่อยู่แถวเขื่อน โครงสร้างของเขื่อน

    สืบเนื่องจากปัญหาการเกิดน้ำท่วมในบริเวณลุ่มแม่น้ำป่าสักในฤดูน้ำหลาก และขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูร้อน อันเกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงพระราชทานพระราชดำริให้กรมชลประทานศึกษาความเหมาะสมถึงการสร้างเขื่อนเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 ซึ่งสามารถแก้ปัญหาได้ทั้งบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง และบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑลอีกด้วย จนกระทั่งวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้เปิดโครงการก่อสร้างเขื่อนกักเก็บน้ำแม่น้ำป่าสัก ภายหลังการศึกษาความเหมาะสม และผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมแล้ว เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ตั้งอยู่ ณ บ้านหนองบัว อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี เป็นเขื่อนดินที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ซึ่งแม่น้ำป่าสักมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 13 ในจำนวน 25 ลุ่มน้ำของประเทศไทย เป็นพื้นที่ลุ่มน้ำประมาณ 14,520 ตารางกิโลเมตร มีลักษณะของลุ่มน้ำแคบเรียวยาว แหล่งต้นน้ำอยู่จังหวัดเลย ลำน้ำมีความยาว 513 กิโลเมตร ไหลผ่านจังหวัดเพชรบูรณ์ ลพบุรี สระบุรี และมาบรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยาที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยประมาณ 2,400 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และมีอาคารระบายน้ำ 3 แห่ง คือ
    - อาคารระบายน้ำล้น ระบายน้ำได้สูงสุดวินาทีละ 3,900 ลูกบาศก์เมตร
    - อาคารท่อระบายน้ำลงลำน้ำเดิม ระบายน้ำได้สูงสุดวินาทีละ 80 ลูกบาศก์เมตร
    - อาคารท่อระบายน้ำฉุกเฉิน ระบายน้ำได้สูงสุดวินาทีละ 65 ลูกบาศก์เมตร

    ประโยชน์ของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
    - เป็นแหล่งน้ำเพื่อ อุปโภค ของชุมชนในเขตจังหวัด ลพบุรี - สระบุรี
    - เป็นแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรในพื้นที่ชลประทานที่เกิดใหม่ในเขตจังหวัดลพบุรี-สระบุรี
    - ช่วยป้องกันอุทกภัยในเขตพื้นที่ริมแม่น้ำป่าสัก ในเขตจังหวัดลพบุรี-สระบุรี และ ช่วยบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่ตอนล่างของแม่น้ำเจ้าพระยา รวมถึงกรุงเทพฯ และเขตปริมณฑลด้วย
    - เป็นแหล่งเพาะพันธ์ปลา และเป็นแหล่งประมงน้ำจืดขนาดใหญ่
    - เป็นแหล่งน้ำเสริม เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคในเขตกรุงเทพฯ
    - เป็นแหล่งท่องเที่ยว

    ตอบลบ
  10. ไม่ระบุชื่อ01 พฤศจิกายน, 2552

    ทุ่งทานตะวัน

    รายชื่อกลุ่ม ม. 6/3

    1.นายธนาธิป ศรีพันธุ์ เลขที่ 2 ก
    2. นางสาวกิตติรัตน์ คล้ายมั่ง เลขที่ 11 ก
    3.นางสาวจิตติรัตน์ โล่ห์คุณสมบัติ เลขที่ 12 ก
    4. นางสาวหงส์รัตน์ จึงวณิชกุล เลขที่ 23 ก
    5.นางสาวพัชรินทร์ ลีจ้อย เลขที่ 13 ข
    6. นางสาวพิชชาอร อุงจิตต์ตระกูล เลขที่ 14 ข เบอร์โทร 0876635949
    เรื่องย่อ

    1.สมาชิกในกลุ่มกำลังนั่งกินเมล็ดทานตะวัน เกิดความสงสัยว่า เมล็ดทานตะวันที่ทานอยู่มาจากที่ไหน จากนั้นก็พาไปดูสถานที่จำหน่ายเมล็ดทานตะวันที่เขื่อนป่าสัก เดินทางโดยรถยนต์
    2.เมื่อไปถึงที่จำหน่ายถามเค้าเกี่ยวกับวิธีการผลิตและวัตถุดิบในการทำว่ามาจากที่ไหน
    3.จากนั้นไปที่ทุ่งทานตะวันซึ่งเป็นแหล่งวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
    4.ถามเกี่ยวกับการเพาะปลูก เก็บเกี่ยว การดูเเลรักษา การนำไปแปรรูปผลผลิตและจบด้วยการอนุรักษ์

    ตอบลบ
  11. ไม่ระบุชื่อ01 พฤศจิกายน, 2552

    รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
    1.นางสาวสิริรัตน์ พันธ์หนู เลขที่ 22ก
    2.นางสาวจิราพรรณ นิยะสม เลขที่ 9ข
    3.นางสาวชิติภรฝรื ศรีขจร เลขที่ 10ข
    4.นางสาวพลอยไพลิน สายแสง เลขที่ 12ข
    5.นางสาวอสมาภรณ์ วามน เลขที่ 19ข
    6.นางสาวอันนา พฤกษ์เจริญโชค เลขที่ 21ข
    ม.6/3
    เรื่อง เมืองลิงมีข้าว

    รายละเอียดโดยย่อ
    จังหวัดลพบุรีมีข้าวที่น่าสนใจอยู่ 4 ชนิด

    ชื่อพันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 (Khao Dawk Mali 105)
    ชนิด - ข้าวเจ้าหอม

    ประวัติพันธุ์ - ได้มาโดยนายสุนทร สีหะเนิน เจ้าพนักงานข้าว รวบรวมจากอำเภอบางคล้าจังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อ พ.ศ.
    2493-2494 จำนวน 199 รวง แล้วนำไปคัดเลือกแบบคัดพันธุ์บริสุทธิ์ (Pure Line Selection)
    และปลูกเปรียบเทียบพันธุ์ที่สถานีทดลองข้าวโคกสำโรง แล้วปลูกเปรียบเทียบพันธุ์ท้องถิ่นในภาคเหนือ
    ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จนได้สายพันธุ์ขาวดอกมะลิ 4-2-105 ซึ่งเลข 4 หมายถึง
    สถานที่เก็บรวงข้าว คือ อำเภอบางคล้า เลข 2 หมายถึงพันธุ์ทดสอบที่ 2 คือ ขาวดอกมะลิ และเลข 105
    หมายถึง แถวหรือรวงที่ 105 จากจำนวน 199 รวง

    การรับรองพันธุ์ - คณะกรรมการการพิจารณาพันธุ์ ให้ใช้ขยายพันธุ์เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2502



    ชื่อพันธุ์ - ชัยนาท 1 (Chai Nat 1)
    ชนิด - ข้าวเจ้า
    คู่ผสม - IR13146-158-1 / IR15314-43-2-3-3 // BKN6995-16-1-1-2

    ประวัติพันธุ์ - ได้จากการผสม 3 ทาง ระหว่างสายพันธุ์ IR13146-158-1 และสายพันธุ์ IR15314-43-2-3-3
    BKN6995-16-1-1-2 ที่สถานีทดลองข้าวชัยนาท เมื่อ พ.ศ. 2525 ปลุกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ CNTBR82075-43-2-1

    การรับรองพันธุ์ - คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2536



    ชื่อพันธุ์ - ปทุมธานี 1 (Pathum Thani 1)
    ชนิด - ข้าวเจ้า
    คู่ผสม - BKNA6-18-3-2 / PTT85061-86-3-2-1
    ประวัติพันธุ์ - ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างสายพันธุ์ BKNA6-18-3-2 กับสายพันธุ์ PTT85061-86-3-2-1
    ที่ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี ในปี พ.ศ. 2533 ปลูกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ PTT90071-93-8-1-1
    การรับรองพันธุ์ - คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2543



    ชื่อพันธุ์ - สุพรรณบุรี 1 (Suphan Buri 1)
    ชนิด - ข้าวเจ้า
    คู่ผสม - IR25393-5-2-3 / กข23 // IR27316-96-3-2-2 /// SPRLR77205-3-2-1-1 / SPRLR79134-51-2-2

    ประวัติพันธุ์ - ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างลูกผสมชั่วที่ 1 ของ IR25393-57-2-3 / กข23 // IR27316-96-3-2-2
    และลูกผสมชั่วที่ 1 ของ SPRLR77205-3-2-1-1 / SPRLR79134-51-2-2
    ที่สถานีทดลองข้าวสุพรรณบุรี เมื่อปี พ.ศ.2528 ปลูกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ SPRLR85163-5-1-1-2

    การรับรองพันธุ์ - คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2537

    ข้าวเป็นทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชนและเป็นอาหารหลักของคนไทยมาช้านานอยากจะให้ทุกคนห็นคุณค่าและประโยชน์ของข้าวไทยรู้จักกินรู้จักใช้อย่างคุ้มค่า

    ตอบลบ
  12. ไม่ส่งเสริมให้นักเรียนขาดเรียนเพื่อไปทำงานในรายวิชานี้

    ตอบลบ